๘๘
The 2 alliance
www.thaivwclub.com
www.modernbug.com

Introduction to BUS (ตู้รุ่นไหนเป็นยังไง?)

ประวัติ�าร�ำเนิดของตู้โดยย่อ...

ตู้หรือ van ได้เริ่มขึ้นเมื่อ ... ตัวแทนจำหน่ายโฟล์คคนหนึ่งชื่อ Ben Pon ซึ่งเป็นชาวดัชต์ (ชาวเนเธอร์แลนด์) ได้เห็นรถขนย้ายของในโรงงาน Wolfsburg �็ได้เ�ิดความคิดว่า Volkswagen น่าจะมีรถที่สามารถขนย้ายสิ่งของต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นอุป�รณ์�่อสร้าง เครื่องมือเครื่องใช้ ผลิตผลทาง�ารเ�ษตร ออ�มาขาย เนื่องจา�ในขณะนั้น�็เป็นช่วงหลังสงครามโล� พาหนะที่ไว้ขนถ่ายของเหล่านี้มีความจำเป็นมา�ใน�ารสร้างประเทศ

ในปี 1947 Ben Pon ได้พบ�ับนายพล Ivan Hirst ที่ Minden ครั้งนี้ Ben Pon ได้นำ sketch ภาพของรถตู้ให้ดู แต่ว่า พันเอ� Radclyffe (วิศวะ�รผู้ดูแลด้าน�ารผลิตในเขตควบคุมของอัง�ฤษ) ปฎิเสธ�ารผลิตเนื่องจา�ทรัพยา�รที่มีอยู่ เพียงพอเพื่อผลิตเต่าทองเท่านั้น

แต่ทว่าในปี 1948 Heinz Nordhoff ได้นัดพบผู้อำนวย�ารของ VW มาพบเพื่อรื้อเอาโครง�าร ตู้ มาปัดฝุ่นอี�ครั้งทำให้ Ben Pon ได้นำเสนอโปรเจคตู้�ับ Nordhoff และในปีนี้เอง ตู้�็ได้เข้าสู่สายพาน�ารผลิตเพื่อจำหน่ายของ VW

EA-7 (Entwicklungsauftrang No.7) หรือแปลเป็นภาษาอัง�ฤษว่า Development Project No.7 เป็นโครง�ารผลิตรถตู้ที่ใช้ชื่อเล่นว่า TYPE29 เป็นต้นแบบ

หลังจา�นั้น ในวันที่ 11 มีนาคม ปี 1949 รถตู้ Prototype ได้เริ่มออ�วิ่งครั้งแร� แต่ว่าเจ้า Prototype นี้ใช้แชสซีของเต่า ผล�็คือทำให้รับน้ำหนั�มา� ๆ ไม่ไหว สุดท้าย�็ต้องหยุด Prototype นี้ไป ในเดือน พฤษภาคมปีเดียว�ัน Prototype อี�คัน�็ได้ทดลองวิ่ง โดย Prototype นี้ได้ถู�ออ�แบบแชสซีขึ้นมาใหม่โดย Dr.Haesner โดยแชสซีที่ใช้มีความแข็งแรงมา� ลั�ษณะเป็นเฟรมคู่แล้วใช้ตัวถังครอบบนแชสซีอี�ครั้งหนึ่ง แต่ว่า Prototype นี้�็ยังมีข้อบ�พร่องอยู่เช่น น้อตที่ยึดตัวถัง�ับเฟรมไม่แข็งแรง ต่อมา Prototype ที่ 2 �็ได้ถู�พัฒนาขึ้นมา คราวนี้ใ�ล้ความจริงมา�ขึ้น เจ้า Prototype นี้ได้ถู�แ�้ปัญหาจุดต่าง ๆ ได้ดีขึ้น จนวิ่งได้เป็นระยะทาง 12000 �ิโลเมตร

ในวันที่ 15 สิงหาคม ปี 1949 โครง�าร type2 ได้เปิดตัวครั้งแร�สู่สาธารณะชน โดยทาง VW ประ�าศว่าจะมี ออ�มาจำหน่ายอยู่ 4 โมเดลคือ รถตู้ทึบ รถตู้�ระบะ (Single cab) รถตู้พยาบาล และรถตู้ที่ใช้สำหรับไปรษณีย์ แต่เอาเข้าจริง ๆ รถตู้คันแร�ที่ออ�ขาย (แชสซีเลขที่ 000014) ได้ถู�ขายในวันที่ 8 มีนาคม ปี 1950 ให้�ับบริษัท Fleischhauer ในเมือง Colonge บริษัทนี้รู้จั��ันดีในชื่อของ น้ำหอมตระ�ูล 4711 ในวันเดียว�ัน�ับที่ออ�แสดงในงาน Geneva Motor Show

นี่เป็นประวัติโดยย่อนะครับ ของจริง�ารเดินทางของตู้นั้นมีอี�เยอะ ผมแปลจา�หนังสือของฝรั่งมา
ของจริงเขียนตั้ง 5 หน้า �ว่าจะจบ :-(

มาเข้าเรื่องของรถตู้ต่อ�ัน ...Volkswagen ได้แบ่งประเภทของรถไว้ดังนี้

ตู้, bus, van, type2 หรือ bulli (ภาษาเยอรมัน) ได้แบ่ง generation ไว้ 5 แบบ (ณ ตอนนี้ 5-1-47 )
- T1 �็คือหน้าวี หรือ split window เริ่มผลิตตั้งแต่ 1950 - 1967
- T2 �็คือแตงโม หรือ bay window เริ่มผลิตตั้งแต่1968 - 1979
- T3 �็คือทรานสปอร์ทเตอร์ ในอเมริ�าเรีย�ว่า vanagon เริ่มผลิตตั้งแต่ 1980 - 1992
- T4 �็คือคาราเวล และ T5 �็คือโฟล์คตู้ตัวใหม่ล่าสุดที่เพิ่งออ�มาไม่นานนี้

T1 ที่ฝรั่งเรีย�ว่า Split window เจ้าสปลิทนี้�็แบ่งได้อี�เป็น Barn door ผลิตในปี 1950 - 1955 เอ�ลั�ษณ์ของ Barn door สังเ�ตุง่าย ๆ คือ ด้านหน้าจะไม่มีช่องลมเข้า และด้านหลัง ฝาห้องเครื่องจะเปิดได้สูงมา� แต่พอปี 1956 - 1967 �็พัฒนามาเป็นหน้าวีที่เราเห็น�ันบ่อย ๆ คือมีช่องลมเข้าด้านหน้า ฝาห้องเครื่องเปิดได้น้อย แต่สามารถเปิดฝาห้องโดยสารหลังได้

ด้านหน้าของ Barn door จะไม่มีช่องลม คือเรียบ ๆ ไปเลย ฝาห้องเครื่องที่เปิดได้�ว้างมา� แต่ฝาห้องโดยสารเปิดไม่ได้
ด้านหน้าของหน้าวี ที่จะมีช่องลมเข้าทางหน้า ด้านหลังของหน้าวีจะเปิดได้ทั้งห้องโดยสาร และห้องเครื่อง

 

T2 ฝรั่งเรีย� bay window แต่บ้านเราเรีย�แบบน่ารั�ว่า แตงโม หรือหัวแตงโม (บางคนเรีย�ปังปอน์ด) เข้าใจว่าน่าจะเรีย�ตามช่องลมด้านหลังที่มีลั�ษณะคล้าย แตงโมฝ่าซี� (แต่เรีย�หัวแตงโม แปล�เนอะ) รุ่นนี้�็จะแบ่งเป็น 3 แบบด้วย�ัน คือ ไฟเลี้ยวล่าง ไฟท้ายแคปซูล 1968 - 1971 แบบนี้ไฟเลี้ยวด้านหน้าจะอยู่ด้านข้างช่องลมหน้า และไฟท้ายจะเป็นแบบหน้าวี คือจะเล็�และมน �ันชนจะเป็นแบบโค้งมน ทีเด็ดของแตงโมในแบบนี้คือปี 71 ซึ่งเป็นปีแร�ที่ได้ช่วงล่างด้านหน้าแบบ disc brake แต่ได้ตัวถังจะเป็นแบบเ�่า แบบต่อมาคือ ไฟเลี้ยวล่าง ไฟท้ายยาว มีอยู่ปีเดียวคือ 1972 ปีนี้เป็นปีที่�ำลังจะ�ลายเป็นแตงโมรุ่นใหม่ แต่ผสมความเ�่าไว้ครึ่งหนึ่ง ใหม่อี�ครึ่ง สังเ�ตุได้ง่ายว่าด้านหน้า ไฟเลี้ยวจะอยู่ด้านล่าง ไฟท้ายจะยาว และ�ันชนยังเป็นแบบโค้งมนอยู่ ห้องเครื่องจะแปล�ตา�ว่ารุ่น�่อน คือมีสันเพิ่มขึ้นมา (จริง ๆ ฝาห้องเครื่องจะเล็�และยาว�ว่าด้วย) เพื่อเตรียมรองรับเครื่อง type4 ที่จะมาลงในปีต่อไป ... แบบสุดท้าย คือไฟเลี้ยวบน �ันชนเหลี่ยม 1973 - 1979 สังเ�ตุง่าย ๆ ไฟเลี้ยวด้านหน้า จะอยู่ข้างช่องลม ไฟท้ายด้านหลังจะเป็นแบบยาว �ันชนจะเป็นแบบเหลี่ยม ห้องเครื่องแบบมีสัน และเครื่อง type4

ด้านหน้าของ 68 - 71 ไฟเลี้ยวจะอยู่ด้านล่าง �ันชนโค้งมน
โลโ�้ด้านหน้าขนาดใหญ่
ด้านหลังของ 68 - 71 ไฟท้ายจะเป็นแบบหน้าวี คือไฟแค็ปซูล
�ันชนโค้งมน ฝาปิดห้องเครื่องใหญ่
ปี 72 ด้านหน้าจะเหมือนปี 68 - 71 ทุ�อย่าง (ในรูปโลโ�้หาย) แต่ด้านหลังไฟท้ายยาว ฝาปิดห้องเครื่องเล็� แต่�ันชนยังโค้งมน
ปี 73 - 79 ไฟเลี้ยวย้ายมาอยู่ด้านบน �ันชนเหลี่ยม โลโ�้เล็� ด้านหลังไฟท้ายยาว ฝาปิดห้องเครื่องเล็� และ�ันชนเหลี่ยม

T3 บ้านเราเรีย� transportor แต่ฝรั่งเรีย�ว่า vanagon (ไม่เคยเห็นที่ไหนเรีย�ว่าเวดจ์อย่างหนังสือบางเล่มที่แปลมาผิด ๆ) แบ่งได้เป็น เครื่อระบายความร้อนด้วยงอา�าศ 1980 - 1982 ** ไม่แน่ใจในปีครับ อ่านมาแค่ตำราเดียว** และเครื่องระบายความร้อนด้วยน้ำ ซึ่งแบบระบายความร้อนด้วยน้ำ จะมี 2 แบบอี�คือแบบไฟหน้า�ลม และแบบไ ฟหน้าเหลี่ยม เข้าใจว่าไฟเหลี่ยมจะมีตอนปี 1987 - 1992

T4 และ T5 ที่เรีย�ว่า caravell รุ่นนี้ผมมีความรู้น้อยมา�ครับ เพียงแต่สังเ�ตุว่า ตั้งแต่ T1 - T3 จะใช้ชื่อว่า transportor มาโดยตลอด แต่พอมา T4 �ลับเปลี่ยนเป็น caravell อันนี้ผมเข้าใจเองว่าเนื่องจา� T1-3 วางเครื่องไว้ด้านหลัง แต่พอมา T4-5 วางเครื่องไว้ด้านหน้า เจ้า caravell คงจะหมายถึงตู้ที่วางเครื่องไว้ด้านหน้าด้วย�ระมัง อันนี้คาดเดาเอานะครับ :-)